ทางรอดธุรกิจ ยุคโควิด


การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลกระทบอย่างมากต่อภาวะเศรษฐกิจของไทยที่หดตัวต่อเนื่อง
ตลอดระยะเวลากว่า 1 ปีที่ผ่านมา ผู้ประกอบธุรกิจแทบทุกภาคส่วนต่างได้รับผลกระทบจากยอดขายสินค้า
และบริการท่ามกลางวิกฤตที่เกิดขึ้น ทำให้ SME หลายรายต้องพากันปรับตัวเพื่อหาทางรอดและดูแลธุรกิจให้เดินหน้าต่อ
โดยทาง www.franzbiz.com แนะนำ 6 แนวทาง ทางรอดธุรกิจ ฝ่าวิกฤตโควิด-19 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1.เพิ่มช่องทางขายสินค้าและบริการทางออนไลน์
ในช่วงการแพร่ระบาดนั้นผู้บริโภคกว่า 89% ใช้เวลาไปกับการการซื้อของออนไลน์มากขึ้น อีกทั้งเพื่อความอยู่รอด
หลายอุตสาหกรรมต่างปรับตัวสร้างช่องทางจำหน่ายบนตลาดออนไลน์ของตัวเองส่งผลให้อุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซ
ในภาพรวมปี2020สูงขึ้นถึง35%โดยปัจจุบันนักการตลาดควรมองหาแพลตฟอร์มช่องทางขายใหม่ ๆ
อาทิ เช่น ออนไลน์มาร์เก็ตเพลสที่ตอบโจทย์กับสินค้า รวมถึงการหาพาร์ตเนอร์ที่สามารถขยายช่องทางเข้าถึงลูกค้ากลุ่มใหม่ ๆได้
หรืออาจใช้โซเชียลคอมเมิร์ซ โดยร่วมมือกับ Influencer เพื่อสร้างยอดขาย การโปรโมทสินค้าและบริการ
รวมถึงการแจ้งกิจกรรมส่งเสริมการขายทางออนไลน์ ยังทำให้สินค้าเป็นที่รู้จักในวงกว้างมากขึ้นและขยายฐานลูกค้าได้มากขึ้นด้วย
ซึ่งแน่นอนว่าจะส่งผลให้มีโอกาสขายสินค้าได้มากขึ้นและมียอดขายเพิ่มขึ้นด้วย
2.เพิ่มการลงทุนเจาะจงกลุ่มเป้าหมาย
ในปัจจุบันผู้บริโภคเสพคอนเทนต์ในหลายแพลตฟอร์มากยิ่งขึ้น
ดังนั้นการซื้อสื่อทีละแพลตฟอร์มจึงไม่ตอบสนองการเข้าถึงผู้บริโภคและสร้างความน่าสนใจอย่างทันท่วงที
โดยอาจใช้เทคโนโลยีอย่าง Programmatic ที่มี AI วิเคราะห์ข้อมูลและยิงโฆษณาให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
ที่มีความสนใจเดียวกันในแพลตฟอร์มที่ต่างกัน ซึ่งให้ผลลัพธ์ที่ดีกว่าและคุ้มค่ากว่าการลงทุนแบบแยกทีละแพลตฟอร์ม
3. Data Driven เลือกใช้กลยุทธ์ที่การันตีผลลัพธ์
ธุรกิจต่าง ๆ มีบทเรียนจากการแพร่ระบาดครั้งที่แล้ว และหันไปพึ่งแพลตฟอร์มออนไลน์มากขึ้น
พื้นฐานของการตลาดแบบ Data Driven เป็นแข่งกันว่าใครใช้ Data เก่งกว่ากัน และไม่ได้จำกัดอยู่ที่การยิงโฆษณา
แต่เป็นการทำ Promotion การใช้ Performance Marketing และการทำ Personalisation รวมไปถึงการทำ CRM
ที่มีประสิทธิภาพเพื่อสร้างโอกาสเพิ่มยอดขายสามารถกำหนดกลยุทธ์สำหรับธุรกิจ ซึ่งรวมถึงการออกแบบสินค้าและบริการที่ดีขึ้น
ตอบสนองกลุ่มลูกค้าได้ตรงเป้ามากขึ้น และยังทำให้ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อรับมือกับการแข่งขันในตลาดได้ทันท่วงทีมากขึ้นด้วย
4.แบรนด์ต้องไม่หยุดสร้าง Brand Awareness
แม้การแข่งเรื่องโปรโมชั่น ราคา จะเพิ่มมากขึ้น แต่แบรนด์ใหญ่ต้องไม่ลดการลงทุนสื่อเพื่อสร้างการจดจำ
ซึ่งเป็นโอกาสในการเข้าถึงผู้บริโภคอย่างต่อเนื่อง รวมถึงเพิ่มความมั่นใจและเชื่อใจในระยะยาว
อีกทั้งเป็นการลดโอกาสในการถูกคู่แข่งแย่งผู้บริโภคไปในการแข่งขันเรื่องราคา และโปรโมชันที่เข้มข้นขึ้นสำหรับแบรนด์ใหม่
ช่วงนี้เป็นโอกาสอันดีที่จะการเข้าถึงผู้บริโภคที่อยู่บ้านและมีเวลารับสื่อมากขึ้น โดยเฉพาะสื่อ offline อย่างโทรทัศน์
หรือการเลือกใช้ Influencer Marketing เพื่อสร้างการจดจำ รวมถึงมีโอกาสสร้างยอดขายมากขึ้นตามไปด้วย
5.ตามติดสถานการณ์แบบเรียลไทม์จากภาครัฐ
โอกาสในการก้าวผ่านวิกฤตทางธุรกิจ คือการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ให้ทันกับสถานการณ์อย่างรวดเร็ว
ทำให้นักการตลาด ปรับตัว และสร้างโอกาสที่เกิดขึ้นจากพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงได้เร็วยิ่งขึ้น
6.เตรียมแผนไว้รองรับเหตุกาณ์ไม่คาดฝันเสมอ
ควรมีแผนสำรองในกรณีฉุกเฉิน รวมถึงมีการทำงานอย่างยืดหยุ่น
สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้าจะช่วยให้รับมือกับทุกสถานการณ์ได้ดีขึ้น
รูปแบบการตลาดในตอนนี้เปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด เมื่อถึงคราวจำเป็นต้องปรับตัวสู่โลกออนไลน์
ธุรกิจต้องปรับกลยุทธ์ สร้างเรื่องราว ตัวตนของแบรนด์ตนเองให้ดี แม้แต่นักลงทุนต้องหันมาศึกษาข้อมูลก่อนลงทุน
พร้อมใช้เครื่องมือดิจิทัลแชทคอมเมิร์ซ www.franzbiz.com จึงถือเป็นช่องทางสำคัญในการแนะนำธุรกิจ
และเก็บข้อมูลเพื่อเดินหน้าธุรกิจหวังว่าธุรกิจ SME ไทยจะเริ่มเรียนรู้ ปรับตัวอย่างจริงจัง
เพื่อเดินหน้าธุรกิจให้ผ่านพ้นวิกฤตในครั้งนี้ และพร้อมที่จะเติบโตสู่เส้นทางความสำเร็จในอนาคต

ขอบคุณข้อมูลจาก : https://www.prachachat.net/marketing/news-600434 , https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88/152012

โทรสอบถามฝ่ายพัฒนาธุรกิจแฟรนไชส์ ปรึกษาฟรี: 094-552-2253/ 094-494-2696
Line Official Account: @franzbiz (มีแอด)
Facebook: Franzbiz – Thailand’s franchising company
E-mail: franzbiz@franzbiz.com
Website: www.franzbiz.com

การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลกระทบอย่างมากต่อภาวะเศรษฐกิจของไทยที่หดตัวต่อเนื่อง
ตลอดระยะเวลากว่า 1 ปีที่ผ่านมา ผู้ประกอบธุรกิจแทบทุกภาคส่วนต่างได้รับผลกระทบจากยอดขายสินค้าและบริการ
ท่ามกลางวิกฤตที่เกิดขึ้น ทำให้ SME หลายรายต้องพากันปรับตัวเพื่อหาทางรอดและดูแลธุรกิจให้เดินหน้าต่อ
โดยทาง www.franzbiz.com แนะนำ 6 แนวทาง ทางรอดธุรกิจ ฝ่าวิกฤตโควิด-19 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1.เพิ่มช่องทางขายสินค้าและบริการทางออนไลน์
ในช่วงการแพร่ระบาดนั้นผู้บริโภคกว่า 89% ใช้เวลาไปกับการการซื้อของออนไลน์มากขึ้น อีกทั้งเพื่อความอยู่รอด
หลายอุตสาหกรรมต่างปรับตัวสร้างช่องทางจำหน่ายบนตลาดออนไลน์ของตัวเอง
ส่งผลให้อุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซในภาพรวมปี 2020 สูงขึ้นถึง 35% โดยปัจจุบันนักการตลาดควรมองหาแพลตฟอร์มช่องทางขายใหม่ ๆ
อาทิ เช่น ออนไลน์มาร์เก็ตเพลส ที่ตอบโจทย์กับสินค้า รวมถึงการหาพาร์ตเนอร์ที่สามารถขยายช่องทางเข้าถึงลูกค้ากลุ่มใหม่ ๆ ได้
หรืออาจใช้โซเชียลคอมเมิร์ซ โดยร่วมมือกับ Influencer เพื่อสร้างยอดขาย การโปรโมทสินค้าและบริการ
รวมถึงการแจ้งกิจกรรมส่งเสริมการขายทางออนไลน์ ยังทำให้สินค้าเป็นที่รู้จักในวงกว้างมากขึ้นและขยายฐานลูกค้าได้มากขึ้นด้วย
ซึ่งแน่นอนว่าจะส่งผลให้มีโอกาสขายสินค้าได้มากขึ้นและมียอดขายเพิ่มขึ้นด้วย
2.เพิ่มการลงทุนเจาะจงกลุ่มเป้าหมาย
ในปัจจุบันผู้บริโภคเสพคอนเทนต์ในหลายแพลตฟอร์มากยิ่งขึ้น
ดังนั้นการซื้อสื่อทีละแพลตฟอร์มจึงไม่ตอบสนองการเข้าถึงผู้บริโภคและสร้างความน่าสนใจอย่างทันท่วงที
โดยอาจใช้เทคโนโลยีอย่าง Programmatic ที่มี AI วิเคราะห์ข้อมูลและยิงโฆษณาให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
ที่มีความสนใจเดียวกันในแพลตฟอร์มที่ต่างกัน ซึ่งให้ผลลัพธ์ที่ดีกว่าและคุ้มค่ากว่าการลงทุนแบบแยกทีละแพลตฟอร์ม
3. Data Driven เลือกใช้กลยุทธ์ที่การันตีผลลัพธ์
ธุรกิจต่าง ๆ มีบทเรียนจากการแพร่ระบาดครั้งที่แล้ว และหันไปพึ่งแพลตฟอร์มออนไลน์มากขึ้น
พื้นฐานของการตลาดแบบ Data Driven เป็นแข่งกันว่าใครใช้ Data เก่งกว่ากัน และไม่ได้จำกัดอยู่ที่การยิงโฆษณา
แต่เป็นการทำ Promotion การใช้ Performance Marketing และการทำ Personalisation รวมไปถึงการทำ CRM
ที่มีประสิทธิภาพเพื่อสร้างโอกาสเพิ่มยอดขายสามารถกำหนดกลยุทธ์สำหรับธุรกิจ ซึ่งรวมถึงการออกแบบสินค้าและบริการที่ดีขึ้น
ตอบสนองกลุ่มลูกค้าได้ตรงเป้ามากขึ้น และยังทำให้ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อรับมือกับการแข่งขันในตลาดได้ทันท่วงทีมากขึ้นด้วย
4.แบรนด์ต้องไม่หยุดสร้าง Brand Awareness
แม้การแข่งเรื่องโปรโมชั่น ราคา จะเพิ่มมากขึ้น แต่แบรนด์ใหญ่ต้องไม่ลดการลงทุนสื่อเพื่อสร้างการจดจำ
ซึ่งเป็นโอกาสในการเข้าถึงผู้บริโภคอย่างต่อเนื่อง รวมถึงเพิ่มความมั่นใจและเชื่อใจในระยะยาว
อีกทั้งเป็นการลดโอกาสในการถูกคู่แข่งแย่งผู้บริโภคไปในการแข่งขันเรื่องราคา และโปรโมชันที่เข้มข้นขึ้น สำหรับแบรนด์ใหม่
ช่วงนี้เป็นโอกาสอันดีที่จะการเข้าถึงผู้บริโภคที่อยู่บ้านและมีเวลารับสื่อมากขึ้น โดยเฉพาะสื่อ offline อย่างโทรทัศน์
หรือการเลือกใช้ Influencer Marketing เพื่อสร้างการจดจำ รวมถึงมีโอกาสสร้างยอดขายมากขึ้นตามไปด้วย
5.ตามติดสถานการณ์แบบเรียลไทม์จากภาครัฐ
โอกาสในการก้าวผ่านวิกฤตทางธุรกิจ คือการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ให้ทันกับสถานการณ์อย่างรวดเร็ว
ทำให้นักการตลาด ปรับตัว และสร้างโอกาสที่เกิดขึ้นจากพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงได้เร็วยิ่งขึ้น
6.เตรียมแผนไว้รองรับเหตุกาณ์ไม่คาดฝันเสมอ
ควรมีแผนสำรองในกรณีฉุกเฉิน รวมถึงมีการทำงานอย่างยืดหยุ่น
สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้าจะช่วยให้รับมือกับทุกสถานการณ์ได้ดีขึ้น
รูปแบบการตลาดในตอนนี้เปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด เมื่อถึงคราวจำเป็นต้องปรับตัวสู่โลกออนไลน์
ธุรกิจต้องปรับกลยุทธ์ สร้างเรื่องราว ตัวตนของแบรนด์ตนเองให้ดี แม้แต่นักลงทุนต้องหันมาศึกษาข้อมูลก่อนลงทุน
พร้อมใช้เครื่องมือดิจิทัลแชทคอมเมิร์ซ www.franzbiz.com จึงถือเป็นช่องทางสำคัญในการแนะนำธุรกิจและเก็บข้อมูลเพื่อเดินหน้าธุรกิจ
หวังว่าธุรกิจ SME ไทยจะเริ่มเรียนรู้ ปรับตัวอย่างจริงจัง เพื่อเดินหน้าธุรกิจให้ผ่านพ้นวิกฤตในครั้งนี้ และพร้อมที่จะเติบโตสู่เส้นทางความสำเร็จในอนาคต
ขอบคุณข้อมูลจาก : https://www.prachachat.net/marketing/news-600434 ,
https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88/152012
โทรสอบถามฝ่ายพัฒนาธุรกิจแฟรนไชส์ ปรึกษาฟรี: 094-552-2253/ 094-494-2696
Line Official Account: @franzbiz (มีแอด)
Facebook: Franzbiz – Thailand’s franchising company
E-mail: franzbiz@franzbiz.com
Website: www.franzbiz.com

ข่าวอื่นๆ

ROI TOOL คำนวนการคืนทุนเบื้องต้น

Total Investment งบลงทุนรวม (THB) Duration of the franchise agreement อายุสัญญา ( ใส่จำนวน ปี เช่น 3 )
Rental/ ค่าเช่า (THB)
Wage/ ค่าแรง (THB)
Material cost/ ต้นทุนวัตถุดิบ % (ใส่ค่าเป็นจำนวนเปอเซนต์ เช่น 40)
Others/ค่าใช้จ่ายอื่นๆ % ( ใส่ค่าเป็นจำนวนเปอเซนต์ เช่น 4 )
Monthly Revenue ยอดขายต่อเดือน (THB)

Payback Period ระยะเวลาคืนทุน:

My ROI is (ผลตอบแทนจากการลงทุน)

TOTAL INVESTMENT งบลงทุนรวม:
Monthly Revenue ยอดขายต่อเดือน:
Monthly Cost ต้นทุนรายเดือน:
Monthly Profit กำไรต่อเดือน:
Duration of franchise agreement อายุสัญญา:
Breakeven จุดคุ้มทุน:
ติดต่อที่ปรึกษาการลงทุนแฟรนไชส์

Line: @franzbiz
Call: 094-494-2696 / 094-552-2253