“การตั้งราคาเปรียบเทียบ” จิตวิทยาการตั้งราคาสินค้า ขายยังไงให้ลูกค้ารู้สึก “คุ้ม”


กลยุทธ์นี้คือการตั้งราคาแบบไม่สมเหตุสมผล เพื่อให้ลูกค้าตัดตัวเลือกที่ไม่สมเหตุสมผลออกไป
และเลือกซื้อสินค้าในราคาที่ผู้ขายต้องการขาย สำหรับการตั้งราคาแบบ Decoy Pricing
เป็นการตั้งราคาอย่างน้อย 3 ราคา โดยใช้อย่างน้อย 1 ราคาเป็นราคาจูงใจ ยกตัวอย่างเช่น ค่ากาแฟ 1 แก้ว
มีขนาดเล็กราคา 35 บาท ขนาดกลาง 55 บาท ขนาดใหญ่ 60 บาท
ในมุมมองของลูกค้าขนาดเล็กราคาถูกสุดแต่ไม่คุ้มค่า สำหรับขนาดกลางและขนาดใหญ่ เพิ่มเงินเพียง 5 บาท
ก็สามารถได้กาแฟขนาดใหญ่แล้ว ขนาดกลางกลายเป็นราคาที่ไม่สมเหตุสมผล ลูกค้าจึงยอมจ่ายแพงขึ้น โดยที่ยังรู้สึกว่าคุ้มค่า
บางครั้งการใช้กลยุทธ์แนวระดับราคา ผู้ขายอาจกำหนดให้ราคาของผลิตภัณฑ์หนึ่งเป็นตัวลวง
หรือตัวเปรียบเทียบเพื่อให้ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์รุ่นหนึ่งที่เขาต้องการขายได้ง่ายขึ้น
เช่น ร้านเสื้อผ้าอาจออกแบบเสื้อผ้า 2 แบบ โดยแบบ A มีการตกแต่งด้วยลูกไม้สวยงาม
ตั้งราคาไว้ 2,500 บาท ขณะที่แบบ B จะคล้ายกับแบบ A มีการตกแต่งด้วยลูกไม้ธรรมดา
โดยตั้งราคาไว้ที่ 1,700 บาท ในกรณีที่ร้านเสื้อผ้าต้องการจำหน่าย แบบ B เป็นหลัก
แต่ตั้งราคาแบบ A ไว้สูง และเสนอแบบ A ให้ลูกค้าเสื้อก่อน ต่อมาจึงเสนอแบบ B เมื่อลูกค้าต่อรองราคา
เมื่อมีราคาของแบบ A เป็นตัวเปรียบเทียบลูกค้าจะรู้สึกว่าแบบ B เป็นราคาที่คุ้มค่า และตัดสินใจซื้อได้เร็วขึ้น

หากต้องการที่ปรึกษาด้านการตลาดและแฟรนไชส์ ปรึกษาแฟรนซ์บิซ ฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย
เตรียมตัวของคุณให้พร้อม แล้วมาลุยไปด้วยกัน!!
Inbox / comment สอบถามมาได้เลยค่ะ
โทรฝ่ายขาย 094-494-2696 / 094-552-2253
Line Official Account: @franzbiz (มีแอด)
ID Line : franzbiz
Website: www.franzbiz.com

กลยุทธ์นี้คือการตั้งราคาแบบไม่สมเหตุสมผล เพื่อให้ลูกค้าตัดตัวเลือกที่ไม่สมเหตุสมผลออกไป และเลือกซื้อสินค้าในราคาที่ผู้ขายต้องการขาย สำหรับการตั้งราคาแบบ Decoy Pricing เป็นการตั้งราคาอย่างน้อย 3 ราคา โดยใช้อย่างน้อย 1 ราคาเป็นราคาจูงใจ ยกตัวอย่างเช่น ค่ากาแฟ 1 แก้ว มีขนาดเล็กราคา 35 บาท ขนาดกลาง 55 บาท ขนาดใหญ่ 60 บาท
ในมุมมองของลูกค้าขนาดเล็กราคาถูกสุดแต่ไม่คุ้มค่า สำหรับขนาดกลางและขนาดใหญ่ เพิ่มเงินเพียง 5 บาทก็สามารถได้กาแฟขนาดใหญ่แล้ว ขนาดกลางกลายเป็นราคาที่ไม่สมเหตุสมผล ลูกค้าจึงยอมจ่ายแพงขึ้น โดยที่ยังรู้สึกว่าคุ้มค่า
บางครั้งการใช้กลยุทธ์แนวระดับราคา ผู้ขายอาจกำหนดให้ราคาของผลิตภัณฑ์หนึ่งเป็นตัวลวงหรือตัวเปรียบเทียบเพื่อให้ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์รุ่นหนึ่งที่เขาต้องการขายได้ง่ายขึ้น เช่น ร้านเสื้อผ้าอาจออกแบบเสื้อผ้า 2 แบบ โดยแบบ A มีการตกแต่งด้วยลูกไม้สวยงาม ตั้งราคาไว้ 2,500 บาท ขณะที่แบบ B จะคล้ายกับแบบ A มีการตกแต่งด้วยลูกไม้ธรรมดา โดยตั้งราคาไว้ที่ 1,700 บาท ในกรณีที่ร้านเสื้อผ้าต้องการจำหน่าย แบบ B เป็นหลัก แต่ตั้งราคาแบบ A ไว้สูง และเสนอแบบ A ให้ลูกค้าเสื้อก่อน ต่อมาจึงเสนอแบบ B เมื่อลูกค้าต่อรองราคา เมื่อมีราคาของแบบ A เป็นตัวเปรียบเทียบลูกค้าจะรู้สึกว่าแบบ B เป็นราคาที่คุ้มค่า และตัดสินใจซื้อได้เร็วขึ้น

หากต้องการที่ปรึกษาด้านการตลาดและแฟรนไชส์ ปรึกษาแฟรนซ์บิซ ฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย
เตรียมตัวของคุณให้พร้อม แล้วมาลุยไปด้วยกัน!!
📫Inbox / comment สอบถามมาได้เลยค่ะ
☎️โทรฝ่ายขาย 094-494-2696 / 094-552-2253
📲 Line Official Account: @franzbiz (มีแอด)
ID Line : franzbiz
🧑💻 Website: www.franzbiz.com

ข่าวอื่นๆ

ROI TOOL คำนวนการคืนทุนเบื้องต้น

Total Investment งบลงทุนรวม (THB) Duration of the franchise agreement อายุสัญญา ( ใส่จำนวน ปี เช่น 3 )
Rental/ ค่าเช่า (THB)
Wage/ ค่าแรง (THB)
Material cost/ ต้นทุนวัตถุดิบ % (ใส่ค่าเป็นจำนวนเปอเซนต์ เช่น 40)
Others/ค่าใช้จ่ายอื่นๆ % ( ใส่ค่าเป็นจำนวนเปอเซนต์ เช่น 4 )
Monthly Revenue ยอดขายต่อเดือน (THB)

Payback Period ระยะเวลาคืนทุน:

My ROI is (ผลตอบแทนจากการลงทุน)

TOTAL INVESTMENT งบลงทุนรวม:
Monthly Revenue ยอดขายต่อเดือน:
Monthly Cost ต้นทุนรายเดือน:
Monthly Profit กำไรต่อเดือน:
Duration of franchise agreement อายุสัญญา:
Breakeven จุดคุ้มทุน:
ติดต่อที่ปรึกษาการลงทุนแฟรนไชส์

Line: @franzbiz
Call: 094-494-2696 / 094-552-2253